วันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ใบงานที่3

ขั้นตอนการลง windows 7
สิ่งที่ต้องเตรียม
1. แผ่น windows 7 ตาม Edition ของท่าน
2. คอมพิวเตอร์ PC / Notebook
3. USB ถ้าหากต้องการ Load driver บางตัวสำหรับ Harddisk
วิธีการลงดังนี้ครับ
1. ใส่แผ่น Windows7 ลงใน CD-Rom จากนั้นทำการ Boot Computer
เมื่อเห็นข้อความดังกล่าวดังรูป ให้กด Enter 1ครั้งเพื่อเป็นการเข้าสู้หน้าต่างของการลง Windows7
** ในการปรับให้ให้ Bios นั้น Boots จากแผ่้นเป็นอันดับแรก
-โดยส่วนมาก PC จะกด del / . เข้าไปทำการเซ็ตค่า
- Notebook ส่วนมากจะกด F2 หรือให้สังเกตุดีๆตอนที่คอมพิวเตอร์Boot มันจะบอกอยู่
-แต่ถ้าเราต้องการกดใช้ Boot menu เลย ทั้ง Notebook / pc ส่วนมากจะกด F12 , F10
13


2. ให้เราทำการเลือกดังภาพ
Language to install : English
Time : Thai(Thailand)
Keyboard : US ให้เลือกเป็น US ก่อน
Windows7_1

3. จากนั้นให้ทำการกด Install now
Windows7_2

4. ให้เราเลือก OS ที่เราต้องการลง โดยจะ มีทั้ง x86(32bit) , x64(64bit) แนะนำว่าผู้ใช้ทั่วไปควรลง x86 และกด Next
Windows7_3

5. ยอมรับเงื่อนไข Lincene ของ windows 7
- ให้เราทำการ ติ๊ก(√) I accept the license > Next
Windows7_4

6. เมื่อผู้อ่านลง Windows 7 ใหม่หรือลงครั้งแรกจากการซื้อคอมพิวเตอร์ ก็ให้เลือก Custom(advanced)
Windows7_5

7. ขั้นตอนนี้เราเราเลือก Drive ที่จะลง OS Windows7 ส่วนมาก จะลงใน Disk 0  ก็คือ Drive C: ของ windows เรานั้นเอง อย่าลง ผิด Drive
Windows7_6
************
สำคัญ แต่สำหรับคนที่เคยลง windows 7 แล้ว หรือลง windows ตัวอื่นแล้วจะมาลง Windows 7 ใหม่ให้ทำขั้นตอนนี้ด้วย
ให้ไปที่ Drive options (advanced)
windows7_15
จากนั้นให้เราเลือก Drive ที่เราเคยลง OS มาก่อน จากนั้นก็เลือก format ก่อน จากนั้นก็เลือก Drive ที่เราจะลง OS จากนั้นก็กด Next
windows7_16



8. ขั้นตอนนี้ให้เรารอเวลาใน Install windows 7
Windows7_7

9. หลังจากนั้นให้เราใส่ชื่อ ผู้ใช้ อาทิเช่น ITITHAI จากนั้นก็กด Next
Windows7_8

10. Windows จะให้เราใส่ Password ในการ Login แต่ถ้าเราไม่ต้องการใส่ก็ให้ข้ามขั้นตอนนี้ไปเลย
Windows7_9

11. ขั้นตอนนี้ให้เราใส่ Product key ซึ่ง Product key จะอยู่ที่กล่อง ที่เราทำการซื้อ Windows 7 มา
Windows7_10

12. ขั้นตอนนี้ให้เราเลือก Use recommended Setting เพื่อเป็นการ Update Patch windows ต่างๆ
Windows7_11

13. ให้เราเลือกเวลา Time Zone : UTC+07.00 Bangkok,Hanoi,Jakarta
windows7_12

14. ในหัวข้อนี้ถ้าเรายังไม่แน่ใจ ให้เราเลือก Public network (ตามที่Microsoft แนะนำ)
Windows7_14

15. จากนั้นเราก็จะได้ Window7


windows7-13

16. ก็เป็นเสร็จสิ้นในการลง Windows 7
คำสั่ง DOS

ชนิดคำสั่ง DOS
คำสั่งของ DOS มีอยู่ 2 ชนิดคือ
1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคำสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจำหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคำสั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น คำสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คำสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ เมื่อต้องการใช้คำสั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคำสั่งเข้าสู๋หน่วยความจำ ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคำสั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคำสั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คำสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น
2. คำสั่งภายนอก (External Command)
 
รูปแบบและการใช้คำสั่งต่าง ๆ
ในการใช้คำสั่งต่าง ๆ ของ DOS จะมีการกำหนดอักษรหรือสัญลักษณ์ ใช้แทนข้อความของรูปแบบคำสั่ง ดังนี้

[d:]หมายถึงDrive เช่น A:, B:
[path]หมายถึงชื่อไดเรคเตอรี่ย่อย
[filename]หมายถึงชื่อแฟ้มข้อมูล หรือ ชื่อไฟล์
[.ext]หมายถึงส่วนขยาย หรือนามสกุล
หมายเหตุ ข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องใส่ในคำสั่ง

 
2. ชื่อไดเรคตอรี่ย่อย [path]
3. ชื่อไฟล์ [filename] ต้องเป็นภาษาอังกฤษหรือเลขอารบิค มีไม่เกิน 8 ตัวอักษร ห้ามเว้นวรรค ห้ามใช้เครื่องหมายอื่นใด ( ปัจจุบันเครื่องที่เป็น Windows95/98 สามารถตั้งชื่อไฟล์ได้ 255 ตัวอักษร และสามารถตั้งเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ) 4. ส่วนขยายหรือนามสกุล [.ext] ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
  ขณะนั้น CLS (CLEAR SCREEN)
รูปแบบ : DATE
รูปแบบ : CLS
รูปแบบและการใช้คำสั่งภายใน (Internal Command)
    1. คำสั่งลบข้อมูลบนจอภาพ
    2. คำสั่ง แก้ไข วัน เดือน ปี
DATE
    • เมื่อขึ้น C: ให้พิมพ์ DATE กด Enter
    • พบข้อความว่า Current date is jan 03-19-2001
    • ป้อนให้ถูกต้องตรงตามวันที่ปัจจุบัน
    3.    คำสั่งแก้ไขเวลา รูปแบบ : TIME
TIME
    • กรณีเดียวกันกับ วัน เดือน ปี
    • พบข้อความว่า Current time is 11:10:20
    • ป้อนให้ถูกต้องตรงตามเวลาปัจจุบัน
    4.   คำสั่ง ดูรุ่น หมายเลข ( Version ) ของดอส รูปแบบ : Ver
 
                     VER (VERSION)
    5.    การเปลี่ยน Drive
        -     จาก A:\ เป็น C:\ ให้พิมพ์ C: กด Enter
   
     -     จะขึ้น C:\
    6.    คำสั่ง ดูชื่อแฟ้มข้อมูล, เนื้อที่บนแผ่นดิสก์, ชื่อแผ่นดิกส์ รูปแบบ : DIR [d:] [path] [filename [.ext]] [/p] [/w]
            DIR (DIRECTORY)
            /p
    7.    คำสั่ง COPY
            ใช้คัดลอกแฟ้มข้อมูลหนึ่ง หรือหลายแฟ้มข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลต้นทาง ไปยังแฟ้มข้อมูลปลายทางอาจจะเป็นจากแผ่นดิสก์แผ่นหนึ่งหรือแผ่นดิสก์เดิมก็ได้ เช่น
            A:> COPY DATA.DAT C: BAT.DAT                หมายถึง การสั่งให้นำสำเนาแฟ้มต้นฉบับจาก ดิสเกต Drive A: ที่มีชื่อแฟ้มว่า DATA.DAT มาทำสำเนาให้ปรากฏใน Drive B: ที่มีชื่อแฟ้มว่า BAT.DAT
    8.    การใช้เครื่องหมาย ? และ * ในชื่อไฟล ใช้แทนตัวอักษรอะไรก็ได้ 1 ตัวอักษร ในตำแหน่งที่อยู่ใน
                W?? M     หมายถึง ชื่อไฟล์ที่มี W ขึ้นหน้า ตามด้วยตัวอักษรอะไรก็ได้ 2 ตัว และตามด้วย M
               เครื่องหมาย * ใช้แทนตัวอักษรอะไรก็ได้ ยาวเท่าใดก็ได้ เช่น *.* ชื่อไฟล์อะไรก็ได้ นามสกุลอะไรก็ได้ เช่น
           
DIR S*
หมายถึง แสดงชื่อไฟล์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร S หรือ
           
DIR ?O*
หมายถึง แสดงชื่อไฟล์ ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรอะไรก็ได้ตามด้วย O แล้วต่อท้ายด้วยอักษรอะไรก็ได้
           
A:\ COPY*.* B:
หมายถึง ให้ทำสำเนาแฟ้มไปสู่ Drive B:
   
            A:\COPY C*.* B: หมายถึง ให้ทำสำเนาจากแฟ้มต้นฉบับ ใน Drive A: โดยเลือกเฉพาะแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นว่า C ทุกไฟล์ เช่น CAT.DAT, CAR.DOC เป็นต้น

            ?
    9.    คำสั่ง DEL หรือ Erase
คือ การลบแฟ้มข้อมูล รูปแบบ: DEL
ตัวอย่าง เช่น

C:\DEL A:\DATA.DOCกด Enter หมายความว่า ต้องการลบไฟล์ที่มีชื่อว่า DATA จากDrive A: มีผลทำให้ไฟล์ดังกล่าวหายไปจากแผ่นดิสก์
10. คำสั่ง RENAME
                                         คือ การเปลี่ยนชื่อไฟล์ รูปแบบ: REN [d:] [path] [oldfilename[.ext]] [newfilename[.ext]] ตัวอย่างเช่น
                              
REN A: DATA MEETING.DOC SILVER.DOC
         
                            หมายถึง เปลี่ยนชื่อจาก Drive A: แฟ้ม DATA ชื่อไฟล์ MEETING.DOC เป็น SILVER.DOC แทน

  การจัดการ Directory เป็นการจัดการไฟล์ข้อมูล แนวคิดต้นไม้ มีดังนี้ MD ( MKDIR) คือการสร้างกิ่งต้นไม้ ตัวอย่างเช่น
                                    - คำสั่ง
    A:\MD Sheet คือ การสร้าง Directory ชื่อ Sheet ไว้ที่ Drive A เมื่อใช้คำสั่ง DIR ดูจะเห็น Directory ดังกล่าว
                - คำสั่ง CD (CHDIR) คือ การเปลี่ยนตำแหน่งของกิ่งต้นไม้ หรือ Directory ที่เราต้องการเข้าไป เช่น

                - คำสั่ง RD
                       A:\RD DATA คือ การลบ Directory ที่เราได้สร้างไว้ ใน Drive A: หากมี Directory ดังกล่าวจะขึ้นข้อความว่า
(RMDIR) คือ การลบกิ่งต้นไม้ หรือ ไฟล์ข้อมูล ตัวอย่างเช่น
Invalid path,not directory,
  1. หากเราจะลบ Directory นั้นก็จะต้องลบไฟล์ข้อมูลในนั้นก่อน โดยใช้คำสั่ง DIR เพื่อดูว่ามีไฟล์อะไรบ้าง เช่น

    TEST.DOC
    ALL FILES.HTM
    A:\DATA>DIR กด ENTER ซึ่งจะแสดงข้อมูลทั้งหมดใน Directory ที่ชื่อ DATA ออกมา เช่น เรามีแฟ้มข้อมูลใน Directory ชื่อ DATA 2 แฟ้ม คือ
    A:\CD DATA กด ENTER
  2. สามารถใช้คำสั่งลบ แฟ้มได้ดังนี้
    All files in directory will be deleted!
    Are you sure (Y/N)?
    A:\>DATA>DEL*.* กด ENTER ซึ่งจะได้ข้อความดังนี้
  3. ตอบ N คือ ไม่ต้องการลบไฟล์ ตอบ Y คือ ต้องการลบไฟล์ทั้งหมดใน Directory นี้ ในที่นี้เราต้องการลบ ตอบ Y กด ENTERเมื่อ ใช้คำสั่ง DIR จะไม่พบแฟ้มข้อมูลทั้งสองแล้ว
  4. จากนั้นใช้คำสั่ง CD\ ซึ่งเป็นคำสั่งเปลี่ยน Directory ออกมาที่ Root Directory
    A:\>
    A:\>DATA>CD\
  5. แล้วจึงสามารถลบ Directory DATA ได้ โดยใช้คำสั่ง RD A:\>RD DATAผลคือ Directory DATA ถูกลบออกไปจากแผ่นดิสก์ เมื่อใช้คำสั่ง DIR จะไม่สามารถมองเห็น
  6. คำสั่ง เข้าสู่ Root Directory ใช้คำสั่ง CD\ เช่น
    C:\
    C:\Windows\temp>CD\ กด ENTER ผลคือ
  7. คำสั่งออกจาก Directory ย่อย ใช้คำสั่ง CD.. เช่น

          C:\Windows> ถ้าพิมพ์ CD.. อีกครั้ง
          C:\Windows>CD.. กด ENTER ผลคือ
          C:\>
          C:\Windows\temp>CD.. กด ENTER ผลคือ
คำสั่งภายนอกมี 2 นามสกุล
1.นามสกุลเป็น .COM เป็น file ที่บรรจุข้อมูลที่ถูกแปลงเป็นภาษาเครื่องแล้ว
2.นามสกุลเป็น .EXE เป็น file ที่บรรจุข้อมูลที่เขียนโดยใช้ภาษาระดับสูงและแปลงเป็นภาษาเครื่องแล้ว

    1. คำสั่ง Format
    2. คือ การเตรียมแผ่นดิสก์ที่ซื้อมาใหม่ก่อนการใช้งาน เพื่อให้สามารถเก็บข้อมูลหรือเก็บโปรแกรมได้ โดยจะมีโปรแกรมที่ชื่อว่า Format.com         ซึ่งจะใช้ในการสร้าง Track และ Sector บนแผ่นดิสก์ เพื่อที่จะได้นำแฟ้มมาบันทึกบนแผ่นดิสก์ได้
                    Format
การ Format แผ่นใหม่ มีดังนี้
      1. C:\Format A:\
      2. C:\>Format A:/S
      3. สำหรับแผ่น 3.5 นิ้ว ชนิด HD สำหรับแผ่น 3.5 ชนิด HD ให้เป็น DOS โดยการคัดลอกไฟล์ระบบเข้าไปยังแผ่น A ทำให้แผ่นดิสก์ สามารถ Boot ได้นั่นเอง
                2. คำสั่ง DISKCOPY
      1. ถ้าเครื่องไม่มีฮาร์ดดิสก์ ให้ใส่แผ่น DOS ที่มีไฟล์ DISKCOPY.COM ใน Drive A:
      2. ให้พิมพ์คำสั่ง C:\DISKCOPY A: กด Enter เครื่องจะบอกให้ใส่แผ่นต้นฉบับ
      3. ใส่แผ่นต้นฉบับใน Drive A: กด Enter รอสักครู่เครื่องจะบอกให้เรานำแผ่นต้นฉบับออก
      4. ให้ใส่แผ่นสำเนาลงไป กด Enter
      5. เครื่องจะถามการตั้งชื่อให้ กด Enter
      6. เครื่องจะถามว่าจะ DISKCOPY ต่อไปหรือไม่
      7. ตอบ Y คือ ตกลง ตอบ N คือ ไม่ตกลง
    คือ คำสั่งที่ใช้ในการทำสำเนาแฟ้มทั้งแผ่นไปสู่ดิสเกตอีกแผ่นที่ต้องการ โดยต้องเป็นแผ่นดิสก์ ชนิดเดียวกัน ขนาดเดียวกัน ทำได้ดังนี้

  1. ใส่แผ่นดิสก์ไปใน Drive ให้ดูว่าแผ่นขนาดใด ชนิดใด



  2. ให้พิมพ์สูตรตามชนิดของแผ่น แล้ว กด Enter


  3. คำสั่งภายนอก เป็นคำสั่งที่ไม่อยู่ในเครื่อง เวลาใช้ต้องเรียกจากแผ่น DOS ตัวอย่างคำสั่ง
     
    คำสั่งภายนอก(EXTERNAL COMMAND)
    Or directory not empty
    ตัวอย่างการลบ Directory
                                               A:\CD INFORMATION คือ การเข้าไปใน Directory ที่มีชื่อว่า INFORMATION
    หมายถึง แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลทีละ1หน้าจอภาพถ้าต้องการดูหน้าต่อไปให้กดแป้นใด ๆ            /w หมายถึง แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลตามความกว้างของจอภาพ
    1. Drive [d :] ที่เราใช้งาน ได้แก่ A: B: C: หรือ D:


    วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2555

    ประวัติคอมพิวเตอร์

    ประวัติคอมพิวเตอร์

    ประวัติคอมพิวเตอร์ โดยสังเขป ลำดับจากวิวัฒนาการได้ดังนี้
        - แรกเริ่มมนุษย์ดำเนินชีวิตโดยไม่มีการบันทึกสิ่งใด มาจนกระทั่งได้มีการติดต่อค้าขายของพ่อค้าชาวแบบีลอน(Babylonian) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงบน clay tabletsจึงได้ถือกำเนิดขึ้น และอุปกรณ์ที่ช่วยในการคำนวนระหว่างการติดต่อซื้อขายก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเช่นกัน อุปกรณ์คำนวณในยุคแรกได้แก่ ลูกคิด(abacus)ซึ่งก็ยังคงใช้กันต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    clay tablets (แผ่นดินเหนียว)

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    ลูกคิด (abacus)


         - ประวัติคอมพิวเตอร์ ดำเนินมาถึง ปี พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal (แบลส ปาสกาล) ได้สร้างเครื่องกลสำหรับการคำนวณชื่อ pascaline
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    Blaise Pascal

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    เครื่องกลสำหรับการคำนวณชื่อ pascaline


        - ต่อมาในปี พ.ศ. 2215 เครื่องกล pascaline ของ Blaise Pasca ได้ถูกพัฒนาเพิ่มเติมโดย Gottfried Von Leibniz นักคณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันโดยเพิ่มสามารถในการ บวก ลบ คูณ หาร และถอดรากได้ แต่ก็ไม่มีผู้ใดทราบว่าเครื่อง pascaline ที่ถูกพัฒนาเพิ่มเติมเครื่องนี้มีความสามารถในการคำนวนแม่นยำเพียงใด

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    Gottfried Von Leibniz


        - ปี พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ Charles Babbage ได้สร้างจักรกลที่มีชื่อว่า difference engine ที่มีฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่างๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ และและต่อมาก็ได้สร้าง analytical engine ที่มีหลักคล้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปในปัจจุบัน จากผลงานดังกล่าว Charles Babbage ถูกยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์และเป็นผู้ริเริ่มวางรากฐานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    Charles Babbage

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    difference engine

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    analytical engine


        - ปี พ.ศ. 2439 Herman Hollerith ได้คิดบัตรเจาะรูและเครื่องอ่านบัตร
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    Herman Hollerith

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    บัตรเจาะรู


        - จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2480 Howard Aiken สร้างเครื่องกล automatic calculating machine ขึ้น จุดประสงค์ของเครื่องกลชิ้นนี้ก็คือ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เข้ากับบัตรเจาะรูของ Hollerith และด้วยความช่วยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM ทีมงานของ Howard ก็ประดิษฐ automatic calculating machine สำเร็จในปี พ.ศ. 2487 โดยใช้ชื่อว่า MARK I โดยการทำงานภายในตัวเครื่องจะถูกควบคุมอย่างอัตโนมัติด้วย electromagnetic relays และ arthmetic counters ซึ่งเป็น mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเป็น electromechanical computers
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    Howard Aiken

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    MARK I


        - และต่อมา Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ได้ประดิษฐเครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer) โดยใช้ หลอดสูญญากาศ (vacuum tubes)
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer)


        - ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมีชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้(stored program) จึงได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่อง UNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อมา
    ประวัติคอมพิวเตอร์
    ENIAC

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    EDVAC

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    EDSAC

    ประวัติคอมพิวเตอร์
    UNIVAC


        ในท้ายที่สุด หากจะจำแนกประวัติคอมพิวเตอร์ตามยุคของคอมพิวเตอร์(Computer generations) โดยแบ่งตามเทคโนโลยีของตัวเครื่องและเทคโนโลยีการเก็บข้อมูล ก็สามารถจะจัดแบ่งตามวิวัฒนาการได้ 4 ยุคด้วยกัน คือ

        ยุคแรกเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีของหลอดสูญญากาศ และการเก็บข้อมูลเป็นแบบบัตรเจาะรู

        ยุคที่สอง เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีของทรานซิสเตอร์ และการเก็บข้อมูลเป็นแบบเทป ลักษณะเป็นกรรมวิธีตามลำดับ(Sequential Processing)

        ยุคที่สาม เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีของไอซี(integrated circuit, IC) และการเก็บข้อมูลเป็นแบบจานแม่เหล็ก ลักษณะเป็นการทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multiprogramming) และออนไลน์(on-line)

        ยุคที่สี่ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีของวงจรรวมขนาดใหญ่ (Large-scale integration, LSI) ของวรจรไฟฟ้า ผลงานจากเทคโนโลยีนี้คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor ) กล่าวได้ว่าเป็น "Computer on a chip" ในยุคนี้
     
     
    จะเห็นได้ว่าวิวัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาต่อๆ กันมาอย่างรวดเร็วทำให้วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา อาจกล่าวได้อีกว่าโลกของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นมี การเคลื่อนไหวเสมอ(dynamics) แต่การรพัฒนาดังกล่าวกลับไม่ค่อยยืดหยุ่น(rigid)มากนัก เพราะหากเกิดความผิดพลาด ในกลไกเพียงเล็กน้อย บางครั้งก็อาจเป็นบ่อเกิดปัญหาที่ใหญ่โตมหาศาลได้ นอกจากนี้การพัฒนาคอมพิวเตอร์ยังนับได้ว่าเป็นโลกที่ควบคุมไม่ได้ หรือสามารถจัดการได้น้อย กล่าวคือ ทันทีที่คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยโปรแกรม เครื่องก็ปฏิบัติงานไปตามโปรแกรมด้วยตนเอง และขณะที่เครื่องทำงานอยู่นั้นมนุษย์จะไม่สามารถควบคุมได้


    วันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2554

    ใบงานที่1(ศัพท์คอมพิวเตอร์)

    1> assembly language : ภาษาแอสเซมบลี
                        เป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาระดับต่ำคล้ายๆกับภาษา Basic และภาษา Cobol
      2> automatic teller machine : เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ
                        เป็นเครื่องทีไม่มีคนประจำอยู่ ซึ่งสามารถควบคุมการถอนเงิน การดูยอดบัญชีและทำ งานอื่นๆ เกี่ยวกับการจ่ายเงินโดยอัตโนมัติ
      3> auxiliary storage : หน่วยเก็บช่วย หน่วยเก็บรอง
                        เป็นหน่วยความจำที่ช่วยในการรองรับหน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า หน่วยความจำสำรอง (Secondary storage)
      4> background processing : การประมวลผลส่วนหลัง
                        เป็นการ execute โดยอัตโนมัติของโปรแกรมส่วนหลังระหว่างโปรแกรมคอมฯ กับระบบปฏิบัติการ เมื่อระบบไม่สามารถทำตามคำสั่งการประมวลผลส่วนหน้าได้
      5> backup : การสำรอง
                        การสำรองเอาไว้ใช้สำรองโปรแกรมหรือสำรองไว้เพื่อกันโปรแกรมเสียหาย
      6> BASIC : ภาษาเบสิก
                        เป็นภาษาระดับสูงใช้ในการเขียนโปรแกรม เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้และ  การทำงานเป็นแบบแบ่งเวลา (Time Sharing)
      7> batch processing : การประมวลผลแบบกลุ่ม
                        การประมวลผลของตัวเลขหรือกลุ่มของตัวเลขจะมีการประมวลผลแบบกลุ่มและการประมวลผลเป็นแบบเรียงลำดับ การรันโปรแกรมของคอมพิวเตอร์จะรัน 1 โปรแกรมไม่เหมือนกับที่ต้องการรันโปรแกรมทีละ Operator ในโปรแกรม
      8> binary number system : ระบบเลขฐานสอง
                        ในระบบเลขฐานสองจะมีอยู่ 2 digits คือ เลข 0 กับเลข 1 ซึ่งคอมพิวเตอร์จะให้แปลงคำสั่งเป็นเลข 0 และ 1 ในการประมวลผล และใช้เลข 0,1 เป็นเงื่อนไขหรือการกระทำ
      9> booting the system : การเริ่มทำงานของระบบ
                        การเริ่มต้นทำงานของคอมพิวเตอร์ จะเริ่มจากการ Boot เครื่องและจะมีระบบปฏิบัติการหรือ DOS เข้ามาในหน่วยความจำหลัก
    10> buffer : ที่พักข้อมูล ที่ปรับอัตรา หรือกันชน
                        ใช้พักข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ input/out กับ CPU เป็นพื้นที่สำหรับหน่วยความจำขนาดเล็ก ติดต่อ  buffer สองตัว
    11> bug : จุดบกพร่อง
                        การ error ในระบบหรือโปรแกรม การ error ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือในรายละเอียดบางชิ้น ของฮาร์ดแวร์
    12> bus : บัส
                        การสื่อสารระหว่าง provide หรือ มากกว่า 1 devices เช่น ระหว่าง CPU, หน่วยความจำ และ อุปกรณ์รอบนอก โดยคอมพิวเตอร์จะต่อเข้ากับเครื่อง server
    13> byte : ไบต์
                        เป็นกลุ่มของบิต จะมีอยู่ 8 operater ในหน่วยหนึ่ง โดยจะมีตัวแปรเป็นอักขระหรือสัญลัษณ์พิเศษ   โดยปกติ 1 ไบต์จะมี 8 บิต

    14> cache memory : หน่วยความจำแบบแคช
                        เป็นหน่วยความจำที่มีการทำงานสูง ความเร็วสูง เป็นการทำงานของหน่วยความจำเพื่อประมวลผล   ข้อมูลหรือโครงสร้าง
    15> CAD/CAM : การออกแบบและผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
                        โดยปกติทั่วไปจะนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการออกแบบและกระบวนการผลิตของธุรกิจต่างๆ
    16> CAI : การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
                        คือการใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้เองโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ
    17> constant : ค่าคงที่
                        เป็นตัวเลขที่ไม่สามารถเปลี่ยนได้ในโปรแกรม
    18> control program : โปรแกรมควบคุม
                        ปกติจะเป็นระบบปฏิบัติการ โปรแกรมควบคุมสามารถช่วยควบคุมการปฏิบัติการและการจัดการในระบบคอมพิวเตอร์
    19> control unit : หน่วยควบคุม
                        เรียกกันว่า CPU และสามารถพบได้ในการ execution ของโครงสร้างโปรแกรม และเป็นการประมวล   ผลส่วนกลางซึ่งจะทำงานควบคุมโดยตรงของระบบคอมพิวเตอร์
    20> coursor : ตัวชี้ตำแหน่ง
                        สัญลักษณ์ที่แสดงผลบนจอภาพ คือ ขีดเส้นใต้กระพริบเพื่อแสดงหรือชี้ว่า ตัวถัดไปอยู่ตำแหน่งไหน อาจจะเป็นสัญลักษณ์ขีดเส้นใต้ หรือกล่องซึ่งบอกว่าคุณกำลังอยู่ตำแหน่งไหนบนจอภาพ
    21> cylinder : ทรงกระบอก
                        แทร็คบนจานแม่เหล็กซึ่งเกิดจากจานแม่เหล็กแต่ละแผ่นเรียงกันเป็นทรงกระบอก และแทร็คที่เรียง ตรงกันเรียกว่า cylinder
    22> data : ข้อมูล
                        ข้อมูลที่เตรียมไว้เพื่อจะนำไปเข้าสู่การประมวลผล
    23> data base : ฐานข้อมูล
                        ที่รวมของไฟล์ที่มีความสัมพันธ์กันโดยใช้หลักการบางอย่างทำให้ข้อมูลไม่ซ้ำซ้อนกันและสามารถ เรียกใช้งานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
    24> data base administrator : การบริหารฐานข้อมูล
                        เป็นงานที่ใช้สำหรับค้นหา ปรับปรุง แก้ไขการเข้าถึงฐานข้อมูล เป็นการเอาไว้ใช้ฐานข้อมูลโดยใช้ ระบบฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานทั่วไป การบำรุงรักษา
    25> data base management system : ระบบการจัดการฐานข้อมูล
                        เป็นโปรแกรมสำหรับจัดการฐานข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล การค้นหาข้อมูล ระบบนี้สามารถประมวลผลได้หลายโปรแกรมพร้อมกัน
    26> cathaode ray tube : หลอดภาพ
                        เป็นหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่จะส่งข่าวสารไปแสดงผลลัพธ์ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงผลลัพธ์ด้านข้อมูลบนหลอดทีวีและหน้าจอ

    27> central processing unit : หน่วยประมวลผลกลาง
                        เป็นส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ในการควบคุมการแปลและการรันโปรแกรมและ
           คำสั่งต่างๆ ใน CPU ประกอบด้วยหน่วยความจำหลัก หน่วยคำนวณและตรรกะ และหน่วยควบคุม
    28> channel : ช่องสัญญาณหรือร่องข้อมูล
                        เป็นเส้นทางสำหรับการส่งสัญญาณระหว่างคำสั่งและตำแหน่งของข้อมูล แบ่งเป็นแทร็คในเทป   แม่เหล็กหรือเรียกว่า แบนด์ในดรัมแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์ที่เป็นตัวนำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ไปสู่ CPU  และจาก CPU ไปสู่อุปกรณ์ต่างๆ
    29> chip : ชิป
                        สร้างมาจากซิลิโคนประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และประกอบเป็น integrated
    30> compiler : ตัวแปลชุดคำสั่งหรือชุดคำสั่งแปลชุดคำสั่ง
                        คำสั่งในคอมพิวเตอร์เป็นแบบภาษาเครื่อง ซึ่งโดยปกติผู้เขียนโปรแกรมจะเขียนด้วยภาษาระดับสูงที่คอมพิวเตอร์ไม่รู้จัก ตัวแปลภาษาจะทำการแทนคำสั่งภาษาระดับสูงนั้นด้วยภาษาเครื่องไม่ว่าจะเป็นชุดคำสั่งและคำสั่งย่อย นอกจากนี้ยังแปลงระดับการทำงานหรือปัญหาของภาษาเป็นภาษาเครื่องด้วย
    31> computer : คอมพิวเตอร์หรือคณิตกร
                      เป็นเครื่องคำนวณระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยออกแบบเพื่อจัดระบบที่เป็นอัตโนมัติในการรันและการทำงานมีหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ โดยละเอียดเป็นลำดับขั้นตอนแปลทีละคำสั่งที่ได้รับไป
    32> computer network : ข่ายงาน หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์
                        เป็นการเชื่อมต่อการประมวลผลสำหรับคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องหรือมากกว่า
    33> computer operator : การดำเนินการคอมพิวเตอร์หรือการปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
                        เป็นการทำงานที่รวมถึงการติดตั้งระบบและอุปกรณ์ เป็นการเริ่มดำเนินโปรแกรม ตรวจสอบ  การทำงานของไมโครโปรเซสเซอร์และจบการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
    34> console : ส่วนเฝ้าคุมหรือจอเฝ้าคุม
                        เป็นช่องทางของคอมพิวเตอร์ที่ใช้มนุษย์ควบคุมการติดต่อสื่อสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์
    35>data communications : การสื่อสารข้อมูล
                        เป็นวิธีการถ่ายข้อมูลระหว่างการประมวลผลและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยทำการโอนถ่ายข้อมูลข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
    36> data entry operator : พนักงานป้อนข้อมูล
                        เป็นผู้ที่ถอดข้อมูลจากเทปเพื่อให้เหมาะสมกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นหน้าที่ เฉพาะบางคนที่สามารถเข้าใจข้อมูลและแทนค่านั้นด้วยภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้
    37> data processing : การประมวลผลข้อมูล
                        เป็นความต้องการที่จะปฏิบัติงานประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์
    38> debug : แก้จุดบกพร่อง
                        เป็นการตรวจสอบที่จุดบกพร่องและแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมและหรือคำสั่งย่อยใน ชุดคำสั่ง
    39> decision support system : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
                        เป็นการรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจไว้เป็นสำเนาเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ
    40> deagnosties : การวินิจฉัย
                        เป็นการแสดงข้อความผิดพลาดด้วยคอมพิวเตอรืที่เกิดจากปัญหาจากระบบและคำสั่งของโปรแกรม
    41> difference engine : เครื่องคำนวณทางตรรกะ
                        เป็นอุปกรณ์ประมวลผลทางตรรกศาสตร์ที่จะไม่มีวันจบ สร้างโดย Charles Babbuge
    42> digital computer : คอมพิวเตอร์เชิงตัวเลข,คณิตกรเชิงตัวเลข
                        เป็นอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลและจัดการคำนวณและเปรียบเทียบข้อมูล ใช้ควบคู่กับเรื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อก
    43> direct-access : การเข้าถึงโดยตรง
                        เป็นการเข้าถึงข้อมูลในเวลาที่ต้องการโดยดึงข้อมูลมาเฉพาะที่ตั้งที่ข้อมูลอยู่ เป็นการอ่านและ เขียนข้อมูลโดยตรงเช่นเดียวกับการค้นหาข้อมูลโดยตรง
    44> diskette : แผ่นบันทึก
                        เป็นฟลอปปี้ดิสก์ เป็นเทปแม่เหล็กราคาถูก สำหรับอุปกรณ์ I/O และเป็นหน่วยความจำสำรอง
    45> distributed data processing : การประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย
                        เป็นการบรรยายทั่วไปเกี่ยวกับการประมวลผลแบบตรรกะ เกี่ยวข้องกับข่าวสารคำสั่งตลอดจนการทำงานแบบรวมทั้งทางกายภาพ ประมวลผลและอุปกรณ์การสื่อสารต่างๆ
    46> documnutation : การจัดทำเอกสาร
                        เป็นเอกสารระหว่างการวิเคราะห์และคำสั่งย่อยของโปรแกรมและข้อมูลของโปรแกรมและระบบ เก็บตัวแปรและมีไว้เพื่อปรับปรุงโปรแกรามในวันต่อไป
    47> editor : บรรณาธิกรณ์หรือบรรณาธิการ
                        เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ทบทวนและใส่ตัวอักษาและคำสั่งอื่นของโปรแกรม
    48> electronic mail : การสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์
                        เป็นการส่งข้อความทั่วไปโดยระบบคอมพิวเตอร์และการสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นการส่งข้อมูล, ข้อความ, และสารสนเทศ เป็นการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์หนึ่งไปอีกคอมพิวเตอร์หนึ่งเหมือนกับการทำงานของไปรษณีย์
    49> electronic apreadsheet program : โปรแกรมกระดาษทำการอิเล็กทรอนิกส์
                        เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้ทำงานได้รวดเร็ว, คำนวณและวิเคราะห์ข้อมูล มีการทำงานแบบแถวและคอลัมน์
    50> EPROM : หน่วยความจำโปรแกรมลบได้
                        ลบและอ่านหน่วยความจำได้เพียงอย่างเดียว โดยสามารถเขียนโปรแกรมได้ในเงื่อนไขอย่างจำกัด
           เพียงครั้งเดียว